ดี คอนแทค D CONTACT ผลิตภัณฑ์บำรุงสายตา
จากสถิติผู้ป่วยโรคตา พ.ศ. 2542 2544 พบว่าผู้ป่วยโรคตาทั้งหมดเฉลี่ย 1,759,044รายต่อปีโดยจัดอันดับดังนี้
1.รักษาโดยการผ่าตัดต้อกระจกมากที่สุด
2.ผ่าตัดต้อหิน
3.ผ่าตัดจอประสาทตา
4.ผ่าตัดกล้ามเนื้อตาเหล่
5.ผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตารักษาโดยการยิงแสงเลเซอร์จอประสาทตา
ตอนนี้ในประเทศไทยมีคนเป็นโรค วุ้นในลูกตาเสื่อม ถึง 14 ล้านคนแล้ว
สาเหตุของโรคนี้คือ การใช้สายตามากเกินไป (เล่นคอม)
D CONTACT
1.วิตามิน ต่างๆ
2.แคโรทีนอยด์ พฤกษเคมี
3.สารสื่อประสาท
1. ผู้ที่มีอาการสายตาสั้นเทียม
2. ผู้ที่ใช้คอนแทคเลนส์มาเป้นระยะเวลานาน
3. ผู้ที่มีจอตาเปลี่ยนแปลงสภาพที่เกิดจากโรคเบาหวาน
4. พนักงานที่อยู่ประจำสำนักงานซึ่งมีการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน
5. พนักงานผู้ที่ทำงานผลัดกลางคืนมาเป็นระยะเวลานาน
6. ผู้ที่ขับรถเป็นระยะเวลานานๆ(เช่นคนขับแท็กซี่และผู้โดยสารและคนขับรถบรรทุก)
7. ผู้สูงอายุที่มีสายตาฝ้าฟางที่มีแนวโน้มที่น้ำตาจะไหลเมื่อเห็นแสงจ้า, ผู้ที่มีสายตายาว, วุ้นในตาเสื่อมซึ่งทำให้ความสามรถในการมองเห็นลดลง, เยื่อบุตาอักเสบ, ต้อกระจก, ต้อหิน,ผู้ที่มีความดันโลหิตสูงมากๆ, ผู้ที่มีปัญหาจอประสาทตา/เลนส์ตามีการเปลี่ยนแปลง
Phosphatidylserineเป็นองค์ประกอบหลักของเยื่อหุ้มเซลล์สมองสกัดจากเลซิติน(lecithin) ที่อุดมด้วยสารPhosphatidylserineมากกว่า70% เป็นสารสื่อประสาทในเนื้อเยื่อเซลล์สมอง(ช่วยสื่อสารการทำงานระหว่างเซลล์สมอง) ช่วยบำรุงและเพิ่มความสามารถของสมองกลีบท้ายทอย(Occipital Lobe) ที่ใช้ควบคุมการมองเห็น
Lutein Mexico
ทีน และ ซีแซนทีน ที่มีงานวิจัยมีดังนี้คือ
1.ลดความเสี่ยงในการเป็นโรคต้อกระจก
2.โรคจอตาเสื่อม ( AMD )
3.มะเร็งเต้านม
4.โรคหลอดเลือดหัวใจ
ลูทีน (Lutein) และ ซีแซนทีน (Zeaxanthin)
§มีความแตกต่างจาก แคโรทีนอยด์ ชนิดอื่นตรงที่จะไม่เปลี่ยนไปเป็นวิตามิน เอ
§มีในเนื้อเยื่อของ เลนส์ตา และจอรับภาพของตา คือเรติน่า ตรงตำแหน่ง จุดรับภาพของลูกตา Macula
§ในธรรมชาติมี แคโรทีนอยด์ มากกว่า 600 ชนิด แต่มีเพียง 20 ชนิดเท่านั้นที่พบในมนุษย์ และมีเพียง 2 ชนิดเท่านั้นที่พบในจุดรับภาพของลูกตา ( Macula ) คือ ลูทีน ( Lutein ) และ ซีแซนทีน ( Zeaxanthin ) §
สารในจอตาทั้งคู่ทำหน้าที่
1.ช่วยกรองหรือป้องกันรังสีจากแสงแดดที่เป็นอันตรายต่อดวงตา
2.ช่วยปกป้องเซลล์ของจอประสาทตาไม่ให้ถูกทำลายโดยการลดอนุมูลอิสระและกรองแสง สีน้ำเงินที่จะทำลายดวงตา
ลูทีน และ ซีแซนทีน กับโรคต้อกระจก
มีการค้นพบที่ชัดเจนว่า การได้รับแสงเป็นประจำได้ก่อให้เกิดการสร้าง อนุมูลอิสสระ ในกระจกตาและจอตาได้ มีผลทำให้เกิดออกซิเดชั่นของโปรตีนและไขมันในเลนส์ตา ทำให้ไปในทิศทางของความเสื่อมของเลนส์ตาและก่อให้เกิดต้อกระจกในผู้สูงอายุ ได้
Harvard School of Public Health, Boston ในผู้ชาย 36,644 คน ที่ได้รับอาหารเสริมและวิตามินต่างๆ พบว่ากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริม เป็น ลูทีน และ ซีแซนทีน จะลดความเสี่ยงของ โรคต้อกระจกถึง 19%
University of Massachusetts ทำในสุภาพสตรี ถึง 50, 461 คน เป็นการวิจัยทำนองเดียวกัน แต่ทำในผู้หญิงเท่านั้นพบว่า ลูทีน และ ซีแซนทีน จะลดความเสี่ยงของโรค ต้อกระจก ถึง 22%
University of Wisconsin-Madison Medical School ในผู้สูงอายุ 43-84 ปี จำนวน1,354 คน พบว่า ลดอุบัติการณ์ของ ต้อกระจก ที่เกิดตรงกลางเลนส์ ( nuclear cataracts ) ได้ประมาณ 50% ซึ่งเป็นตัวเลขที่สูงมาก
ลูทีน และ ซีแซนทีน กับโรคจุดรับจอภาพเสื่อม
ซึ่งมีหลายๆการศึกษาพบว่า ถ้าปริมาณ Lutein & Zeaxanthin ในลูกตาลดน้อยลง จะพบความเสี่ยงในการเป็นโรคโรคจุดรับภาพเสื่อม ลดลง สามารถช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคได้
Bilberry Extract
1. ช่วยถนอมดวงตา ทำให้การมองเห็นในที่มืดดีขึ้น
2. ช่วยรักษาอาการตาบอดกลางคืน ( Night blindness)
3. ช่วยลดอาการเมื่อยล้าของดวงตา เมื่อใช้สายตานานๆ
4. ช่วยป้องกันเลนส์ตาและช่วยให้คอลลาเจนในตาในส่วน cornea และหลอดเลือดฝอยแข็งแรงขึ้น
5. ช่วยลดอนุมูลอิสระในจอตา ทำให้ป้องกันอาการเสื่อมที่มักจะเกิดกับดวงตาให้น้อยลงได้ เช่น ต้อกระจก ต้อหิน ต้อเนื้อ ตาเสื่อมในคนสูงอายุ(สายตายาว)
ประเทศไทยมีคนเป็นโรค วุ้นในลูกตาเสื่อม ถึง 14 ล้านคนแล้ว
สาเหตุของโรคนี้คือ การใช้สายตามากเกินไป (เล่นคอม)
อาการคือ คุณจะเห็นเป็นคราบดำๆ
เหมือนยักใย่ลอยไปลอยมาเหมือนคราบที่ติดกระจกน่ะครับ จะเห็นชัดก็ต่อเมื่อ
คุณมองไปยังภาพแบล็คกราวนด์ที่มีสีสว่าง เช่น ท้องฟ้าขาวๆฝาห้องขาวๆ
ฝาห้องน้ำขาวๆ จะเห็นเป็นคราบดำๆลอยไปลอยมา
ถ้าอาการมากกว่านั้นก้อคือ ประสาทตาฉีกขาดคุณจะมองเห็นแสงแฟลชในที่มืด
ไม่ว่าหลับตาหรือลืมตา และถึงขั้นนี้จะต้องผ่าตัด
ราคา: | 1,260 | ต้องการ: | ขาย |
ติดต่อ: | สุภาวดี | อีเมล์: | |
โทรศัพย์: | 084-9415477 | IP Address: | 110.168.64.23 |
คำค้น: | d contact ดีไหม | d contact | writer dek satancrow story view | เหยื่อ d contact | dcontact ดีไหม | ดีคอนแทค | |