กุ้งหลวงไคโตซานไคโตซาน สารส่งเสริมการเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์
กุ้งหลวงไคโตซานช่วยลดต้นทุนได้อย่างไร
กุ้งหลวงไคโตซานมีองค์ประกอบของไนโตเจนอยู่ 7 10 เปอร์เซ็นต์ และมีคุณสมบัติอื่นๆ อีกมากมาย เช่นการดูดซึมสารอาหาร ปุ๋ย ยา เข้าสู่ต้นพืชรวดเร็วทำให้ลดการสูญเสีย และได้ประโยชน์มากขึ้น ช่วยตรึงปุ๋ย และปลดปล่อยอย่างช้าๆและต่อเนื่องทำให้พืชได้กินอย่างเต็มที่จึงลดการสิ้นเปลือง จากการทดลอง สามารถลดการใช้ลงได้ถึง 50 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ลดต้นทุนได้
ประโยชน์ของกุ้งหลวงไคโตซาน
1.กุ้งหลวงไคโตซานเป็นสารปรับสภาพดินและน้ำ
· กุ้งหลวงไคโตซานช่วยปรับสภาพน้ำให้มีความเป็นกลางและกำจัดสารแขวนลอยในน้ำเช่น ตะกอนดิน โลหะหนักชนิดต่างๆ เพื่อไม่ให้ไปปนเปื้อนกับยาฆ่าแมลง เป็นผลให้ย่าฆ่าแมลงออกฤทธิ์เร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพดีขึ้น
· กุ้งหลวงไคโตซานช่วยปรับสภาพดิน โดยเฉพาะที่มีการตกค้างของปุ๋ยเคมี มีผลทำให้ดินเป็นกรด ดินแน่น กุ้งหลวงไคโตซานช่วยปรับให้ดินเป็นกลาง ช่วยปลดปล่อยปุ๋ยที่ตกค้างนำมาใช้ได้
· ช่วยส่งเสริมจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในดินให้เจริญเติบโตและแข็งแรง ช่วยเพิ่มความพรุนของดิน ช่วยในการซึมซับน้ำและควบคุมการชะล้างของดิน
2.กุ้งหลวงไคโตซานช่วยเสริมสร้างการเจริญเติบโตและปรับสมดุลย์
· ระบบราก ช่วยกระตุ้นให้พืชแตกรากใหม่ รากสมบูรณ์ ทำให้รากหาอาหารได้ดีขึ้น
· ลำต้น ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ช่วยให้เซลล์แข็งแรง ช่วยลดการอุดตันของท่อน้ำและท่ออาหาร ลำต้นแข็งแรง ถ้าเป็นข้าวจะไม่ล้มง่าย
· ใบกระตุ้นให้พืชสร้างลิกนิน แทนนิล และไคติเนส ทำให้ใบเขียวเข็ม เร็ว ใบหนา ใบตั้ง ต้านทานการทำลายของโรคและแมลงและทำให้ปรุงอาหารได้ดีขึ้น
· ดอกและผล ดอกจะสมบูรณ์ ติดผลดี ผลใหญ่ได้ขนาดน้ำหนักดี รสชาติดี
3.กุ้งหลวงไคโตซานยับยั้งและสร้างภูมิต้านทานโรค
กุ้งหลวงไคโตซาน จะกระตุ้นให้พืชสร้างระบบป้องกันตนเอง หรือสร้างภูมิต้านทานโรคให้กับต้นพืชได้ทั้งโรคที่สาเหตุมาจากเชื้อรา เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย โดยกุ้งหลวงไคโตซานจะซึมผ่านเข้าทางผิวใบ และลำต้น ช่วยยับยั้งการเกิดโรคพืช(ในกรณีเป็นโรคจะช่วยรักษาโรคพืช)
· เชื้อรา กุ้งหลวงไคโตซานมีประจุเป็นบวกที่สามารถซึมผ่านผนังเซลล์ของสปอร์ราได้ทำให้อากาศเข้าไปในสปอร์ทำให้เชื้อราฝ่อไม่สามารถเจริญเติบโตได้ และป้องกันไม่ให้ลามต่อไปได้
· แบคทีเรีย กุ้งหลวงไคโตซานจะไปยับยั้งการกินอาหารของแบคทีเรีย ทำให้เชื้ออ่อนแอ และตายในที่สุด
4.กุ้งหลวงไคโตซานสร้างความต้านทานแมลงศัตรูพืช
กุ้งหลวงไคโตซาน จะกระตุ้นให้พืชผลิตสารป้องกันตนเองมากขึ้นกว่าปรกติหลายสิบเท่า พืชจึงสามารถป้องกันตนเองจากการกัดดูด และทำลายของแมลงศัตรูพืช จะสังเกตเห็นได้ว่าพืชที่ได้รับสารกุ้งหลวงไคโตซาน จะมีลำตันแข็งแรง ใบหนาและตั้งมากขึ้น นอกจากนี้ยังกระตุ้นให้สร้างสารทำลายเปลือกไข่และตัวแมลงศัตรูพืช ทำให้แมลงศัตรูพืชตาย ไข่ฟ่อไม่สามารถเติบโตเป็นตัวอ่อนได้
5.กุ้งหลวงไคโตซานใช้เคลือบเมล็ดพันธุ์
กุ้งหลวงไคโตซานสามารถนำไปใช้เคลือบเมล็ดพันธุ์ สามารถป้องกันเชื้อรา แมลงที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์พืช ช่วยทำให้อัตราการงอก ดีขึ้น ทำให้ผลผลิตที่ได้เพิ่มขึ้น
6. กุ้งหลวงไคโตซานยืดอายุและรักษาคุณภาพผลผลิต
โดยการนำเอากุ้งหลวงไคโตซานไปเคลือบบนผิวของผักและผลไม้ จะมีลักษณะเป็นฟิล์มบางๆใสปราศจากสีและกลิ่น ช่วยลดการหายใจ การผลิตก๊าซเอธิลีน การคายน้ำ การรบกวนของแมลง เชื้อรา ทำให้อากาศเปลี่ยนแปลงภายในน้อย และผลผลิตจะทนทานต่อสภาวะกรดได้ดีขึ้น การเปลี่ยนแปลงสีจะช้าลง ทำให้ผลผลิตมีอายุเก็บได้นานขึ้นไม่เน่าเสียง่าย
7. กุ้งหลวงไคโตซานช่วยรักษาสภาพแวดล้อมและฟื้นฟูระบบนิเวศน์
เนื่องจากกุ้งหลวงไคโตซานย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ จึงมีความปลอดภัยสูง ไม่ตกค้างในผลผลิต สภาพแวดล้อม ผู้ผลิตและผู้บริโภคก็ปลอดภัย ระบบนิเวศน์จะกลับคืนมา เนื่องจากการ ใช้สารเคมี น้อยลง แมลงและสัตว์ที่เป็นประโยชน์ จะกลับมาช่วยเกษตรกรในการควบคุมแมลงศัตรูพืช
กุ้งหลวงไคโตซานกับการเกษตรด้านการควบคุมศัตรูพืช
1. กุ้งหลวงไคโตซานยับยั้งและสร้างความต้านทานโรคให้กับพืช
การยับยั้งเชื่อสาเหตุของโรคพืช ได้แก่ เชื้อไวรัส แบคทีเรีย และเชื้อราบางชนิด โดยไคโตซานจะซึมผ่านเข้าทางผิวใบ ลำต้นพืช ช่วยยับยั้งการเกิดโรคพืชในกรณีที่เกิดเชื่อโรคพืชแล้ว (รักษาโรคพืช) และสร้างความต้านทานโรคให้กับพืชที่ไม่ติดเชื้อ โดยไคโตซานมีคุณสมบัติที่สามารถออกฤทธิ์เป็นตัวกระตุ้น (elicitor) ต่อพืชได้ จะกระตุ้นระบบป้องกันตัวเองของพืช ทำให้พืชผลิตเอนไซม์และสารเคมีเพื่อป้องกันตนเองหลายชนิด พืชจึงลดโอกาสที่จะถูกคุกคามโดยเชื่อสาเหตุโรคพืชได้
2. กุ้งหลวงไคโตซานทำให้เกิดโอกาสการสร้างความต้านทานของพืชต่อแมลงศัตรูพืช
กุ้งหลวงไคโตซานจะกระตุ้นให้มีการผลิตสารลิกนินและแทนนินของพืชมากขึ้น พืชสามารถป้องกันตัวเองจากการกัด ดูด ทำลายของแมลงศัตรูพืช จะสังเกตว่าต้นพืชที่ได้รับสารไคโตซานจะมีแวกซ์เคลือบที่ผิวใบ ผิวใบจะมันเงา
3. กุ้งหลวงไคโตซานช่วยเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในดิน
กุ้งหลวงไคโตซานไคโตซานสามารถส่งเสริมการเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในดิน ประโยชน์ในดิน เช่น เชื้อ Actiomycetes sp. Trichoderma spp. ทำให้เกิดการลดปริมาณของจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อโรคพืช เช่น เชื้อ ( Furarium ) Phythophthora spp. ฯลฯ
รายชื่อศัตรูพืชที่มีการทดสอบแล้วว่ากุ้งหลวงไคโตซานมีศักยภาพในการควบคุม
1.การกระตุ้นให้พืชมีความต้านทานแมลงศัตรูพืช คือ หนอนใยผัก หนอนคืบและอื่น ๆ
การใช้การพ่นทางใบ ลำต้น (ขึ้นกับส่วนที่ศัตรูพืชอาศัยอยู่) อัตราการใช้ 10 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร)
2.การยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อสาเหตุโรคพืช
- ไวรัสโรคพืช
- แบคทีเรีย เช่น โรคแคงเกอร์ โรคใบจุด
- เชื้อรา เช่น เชื้อไฟทอปธอร่า พิเทียม ฟิวซาเรียม Botrytis cineres Rhizopus stolonifer
- แอนแทรคโนส เมลาโนส ราน้ำค้าง ใบติด ราขาว รากเน่า โคนเน่า ใบจุด โรคใบสีส้ม ใบลาย
ราคา: | 240 บาท | ต้องการ: | ขาย |
ติดต่อ: | ทวี | อีเมล์: | |
โทรศัพย์: | 0826174954 | IP Address: | 61.19.65.184 |
คำค้น: | กุ้งหลวง | ไคโตซานไ | คโตซาน | สามารถส่งเสริมการเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ | ไคโตซานกับการเกษตร ภาพนิ่ง | |
ดูสินค้าอื่นๆ | ลงประกาศ | เลื่อนประกาศขึ้น | ลบประกาศ | แก้ไขประกาศ
[ รับจำนอง ขายฝาก บ้าน ที่ดิน ทั่วประเทศ กู้เงินง่าย ได้เงินไว ไม่เช็คแบล็คลิส ]
ประกาศอื่นๆในหมวดหมู่เดียวกัน 20 รายการ (แสดงทั้งหมด)
รูป | รายละเอียด | ราคา | |
2,390 บาท | |||
70,000 | |||
9,999 บาท | |||
9,999 บาท | |||
2,480 บาท | |||
5,990 บาท | |||
690,000 บาท | |||
2,990 บาท | |||
4,480 บาท | |||
5,990 บาท | |||
100 บาท | |||
5,990 บาท | |||
2,480 บาท | |||
4,480 บาท | |||
2,480 บาท | |||
2,480 บาท | |||
4,480 บาท | |||
1,700,000 บาท | |||
5,990 บาท |