ติดตั้งแก๊ส LPG 0863223917 0859072111

หน้าแรก » รถยนต์ และ ยานพาหนะ » รถเก๋ง

ติดตั้งแก๊ส LPG 0863223917 0859072111




กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๒๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒http://www.krisdika.go.th/lawContent01.jsp?fromPage=lawContent&LType=2B&formatFile=htm&vID=6&frm=tmp#_ftn1">                      อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ (๑๘) และมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวงไว้  ดังต่อไปนี้   ข้อ ๑  ให้ยกเลิก (๑) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๘ (พ.ศ. ๒๕๒๔) ออกตามความในพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ (๒) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๒๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒   ข้อ ๒  ในกฎกระทรวงนี้ “ก๊าซ” หมายความว่า ก๊าซปิโตรเลียมเหลวที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง “น้ำมัน” หมายความว่า น้ำมันเชื้อเพลิง “ถัง” หมายความว่า ภาชนะบรรจุก๊าซสำหรับรถยนต์ “เมกาปาสกาลมาตร” หมายความว่า หน่วยวัดความดันตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หลักเกณฑ์การใช้หน่วยต่าง ๆ ของระบบหน่วยเอสไอและการเลือกใช้หน่วยเอสไอ ซึ่งทำให้ใหญ่ขึ้นหรือเล็กลงโดยทศนิยมออกตามกฎหมายว่าด้วยมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม   ข้อ ๓  รถที่ใช้ก๊าซเป็นเชื้อเพลิงต้องมีส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์เกี่ยวกับการใช้ก๊าซอย่างน้อยดังนี้ (๑) ถังตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมถังก๊าซปิโตรเลียมเหลวสำหรับเครื่องยนตร์สันดาปภายในที่กระทรวงอุตสาหกรรมประกาศกำหนด ตามกฎหมายว่าด้วยมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (๒) ลิ้นบรรจุ ๒ จังหวะ (๓) กลอุปกรณ์นิรภัยแบบระบาย (๔) เครื่องวัดปริมาณก๊าซ (๕) ลิ้นควบคุมการบรรจุเกิน หรือเครื่องวัดระดับของเหลวคงที่ หรือช่องกระจกตรวจระดับก๊าซ (๖) ลิ้นจ่ายและลิ้นควบคุมการไหล (๗) ท่อก๊าซ (๘) ตัวกรองก๊าซ (๙) ลิ้นควบคุมการปิดเปิดก๊าซ (๑๐) เครื่องทำและปรับความดันไอก๊าซ (Vapourizer and regulator) (๑๑) ท่อไอก๊าซ (๑๒) ท่อสูญญากาศ (๑๓) เครื่องผสมอากาศกับก๊าซ (๑๔) ลิ้นควบคุมการปิดเปิดน้ำมัน ในกรณีที่เป็นรถที่ใช้ทั้งก๊าซและน้ำมันเบนซินเป็นเชื้อเพลิง ส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ตาม (๒) ถึง (๑๔) ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นไปตามมาตรฐานอันเป็นที่ยอมรับกันว่ามีความปลอดภัยเพียงพอ   ข้อ ๔  ที่ถังต้องติดตั้งเครื่องอุปกรณ์ดังนี้ (๑) ลิ้นบรรจุ ๒ จังหวะ (๒) กลอุปกรณ์นิรภัยแบบระบาย (๓) เครื่องวัดปริมาณก๊าซ (๔) ลิ้นควบคุมการบรรจุเกิน หรือเครื่องวัดระดับของเหลวคงที่ หรือช่องกระจกตรวจระดับก๊าซ (๕) ลิ้นจ่ายและลิ้นควบคุมการไหล เครื่องวัดปริมาณก๊าซตาม (๓) ต้องมีที่หน้าปัดห้องผู้ขับรถด้วย และต้องเป็นชนิดที่ใช้ระบบไฟฟ้า   ข้อ ๕  การติดตั้งถังให้เลือกกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ (๑) ติดตั้งใต้รถ (๓) ติดตั้งภายในตัวถังรถ   ข้อ ๖  การติดตั้งถังต้องปฏิบัติดังนี้ (๑) ถังต้องอยู่ห่างจากท้ายสุดของตัวถังรถไม่น้อยกว่า ๓๕ เซนติเมตรห้ามติดตั้งถังไว้ในห้องเครื่องยนตร์ หรือติดตั้งไว้ส่วนหน้าของตัวถังรถ หรือติดตั้งไว้ด้านหน้าของเพลาล้อหน้า (๒) ถังต้องอยู่ในที่ที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก เว้นแต่กรณีการติดตั้งตามข้อ ๑๐ (๓) วางถังในลักษณะที่สามารถมองเห็นแผ่นป้ายบอกรายละเอียดเกี่ยวกับถังโดยไม่ต้องรื้อถอนส่วนประกอบใด ๆ ออก (๔) ยึดถังหรือขาถังให้ติดแน่นกับตัวรถ ในกรณีที่ใช้แถบโลหะรัดถังต้องมีวัสดุที่ยืดหยุ่นได้ เช่น สักหลาด หนัง ยาง พลาสติก เป็นต้น  หุ้มหรือคั่นกลางสำหรับป้องกันมิให้โลหะเสียดสีกัน  และเมื่อรถสั่นสะเทือนถังต้องไม่ขยับเขยื้อน (๕) อุปกรณ์ที่ยึดถังต้องทนต่อแรงกระชากที่เกิดจากความเร่งหรือความหน่วงของรถ (๖) ห้ามเชื่อมหรือต่อเติมถังกับสิ่งอื่นใด เว้นแต่เป็นการเชื่อมมาจากโรงงานผู้ผลิต   ข้อ ๗  เครื่องอุปกรณ์ที่ติตั้งบนถังต้องมีฝาครอบ และที่ฝาครอบต้องมีท่อทีมีลักษณะและขนาดเหมาะสมสำหรับระบายก๊าซที่รั่วซึมจากเครื่องอุปกรณ์ดังกล่าวออกนอกตัวรถได้ดี โดยให้ปลายท่ออยู่ห่างจากท่อไอเสียไม่น้อยกว่า ๒๕ เซนติเมตร ในกรณีที่ไม่มีฝาครอบเครื่องอุปกรณ์ที่ติดตั้งบนถัง ต้องติดตั้งถังในกล่องบรรจุและป้องกันมิให้ก๊าซรั่วเข้าไปในส่วนที่บรรทุกคนดังนี้ (๑) กล่องบรรจุถังต้องทำด้วยวัสดุไม่ติดไฟ มีฝาปิดแน่น (๒) ที่กล่องบรรจุถังต้องมีช่องปิดด้วยวัสดุใสให้สามารถมองเห็นเครื่องอุปกรณ์ที่ติดตั้งบนถัง (๓) วางกล่องบรรจุถังบนที่รองรับที่เหมาะสมซึ่งสามารถบรรจุก๊าซได้สะดวกและยึดกล่องบรรจุถังให้ติดแน่นกับพื้นรถ (๔) ยึดถังหรือขาถังให้ติดแน่นกับกล่องบรรจุถัง ห้ามยึดด้วยการเชื่อม และให้นำข้อ ๖ (๔) มาใช้บังคับโดยอนุโลม (๕) ที่จุดต่ำสุดของกล่องบรรจุถัง ต้องมีท่อที่มีลักษณะและขนาดเหมาะสมสำหรับระบายก๊าซที่รั่วซึมตามวรรคหนึ่ง   ข้อ ๘  ภายใต้บังคับข้อ ๔ ในกรณีที่มีการติดตั้งถังหลายถังในรถคันเดียวกันถ้าใช้ท่อก๊าซร่วมสำหรับบรรจุก๊าซ ถังแต่ละถังต้องมีลิ้นควบคุมการปิดเปิดก๊าซให้บรรจุได้คราวละถังและถ้าใช้ท่อก๊าซร่วมที่ต่อจากถังไปยังเครื่องยนตร์ ถังแต่ละถังต้องมีลิ้นควบคุมการปิดเปิดก๊าซให้จ่ายก๊าซได้คราวละถังด้วย   ข้อ ๙  ในกรณีที่ติดตั้งถังใต้รถต้องปฏิบัติดังนี้ (๑) ถังที่ใช้จะมีฝาครอบเครื่องอุปกรณ์ที่ติดตั้งบนถังหรือไม่ก็ได้ (๒) ติดตั้งถังให้ส่วนล่างสุดของถังและเครื่องอุปกรณ์ที่ติดกับถังอยู่สูงกว่า ระยะต่ำสุดของรถไม่น้อยกว่า ๕ เซนติเมตร ในกรณีที่ติดตั้งถังด้านหลังเพลาล้อหลังสุดของรถส่วนล่างสุดของถังรวมทั้ง เครื่องอุปกรณ์ที่ติดกับถังต้องอยู่สูงกว่าระยะต่ำสุดของรถไม่น้อยกว่า ๕ เซนติเมตร และต้องอยู่สูงจากพื้นถนนไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๖ ของระยะห่างระหว่างแกนของถังกับแกนของเพลาล้อหลังสุด ทั้งนี้ ต้องอยู่ห่างจากท่อไอเสียไม่น้อยกว่า ๑๐ เซนติเมตร (๓) เครื่องอุปกรณ์ที่ติดกับถังต้องอยู่ห่างจากตัวรถเพื่อมิให้เกิดการเสียดสีกัน (๔) ติดแผ่นโลหะหนาพอสมควรหน้าถังสำหรับป้องกันเศษหินที่กระเด็นมาจากการหมุนของล้อรถ   ข้อ ๑๐  ในกรณีที่ติดตั้งถังภายในตัวถังรถต้องปฏิบัติดังนี้ (๑) ในกรณีที่มีห้องเก็บของแยกต่างหากจากส่วนที่ใช้บรรทุกคน ให้ติดตั้งถังไว้ในห้องเก็บของ และต้องป้องกันมิให้ก๊าซรั่วเข้าไปในส่วนที่ใช้บรรทุกคน ถ้าใช้ถังที่ไม่มีฝาครอบเครื่องอุปกรณ์ที่ติดตั้งบนถังและไม่ได้ติดตั้งถังในกล่องบรรจุถัง ที่จุดต่ำสุดของห้องเก็บของต้องมีท่อสำหรับระบายก๊าซตามข้อ ๗ วรรคหนึ่ง (๒) ในกรณีที่รถไม่มีห้องเก็บของแยกต่างหากจากส่วนที่ใช้บรรทุกคน ให้ใช้ถังที่มีฝาครอบเครื่องอุปกรณ์ที่ติดตั้งบนถัง หรือติดตั้งถังในกล่องบรรจุถัง   ข้อ ๑๑  ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องติดตั้งถังที่อื่นนอกจากที่กำหนดไว้ในข้อ ๕จะกระทำได้เมื่อนายทะเบียนพิจารณาเห็นว่ามีความปลอดภัย มั่นคงแข็งแรง เหมาะสมในการใช้งานและให้ความเห็นชอบแล้ว   ข้อ ๑๒ ในกรณีที่ติดตั้งถังภายในตัวรถ  ต้องติดตั้งท่อบรรจุก๊าซดังนี้ (๑) ท่อบรรจุก๊าซต้องเป็นท่ออ่อนชนิดที่ใช้กับก๊าซ มีขนาดเหมาะสมและสามารถทนความดันได้โดยปลอดภัย (๒) ต่อท่อบรรจุก๊าซติดกับลิ้นบรรจุก๊าซที่ถังออกไปยังตัวถังรถด้านใดด้านหนึ่งแต่ต้องไม่ยื่นออกนอกตัวถังรถ (๓) ปลายท่อบรรจุก๊าซต้องยึดติดกับแผ่นโลหะหนาและอยู่ห่างจากประตูทางขึ้นลงพอสมควรและติดตั้งลิ้นบรรจุก๊าซที่ปลายท่อบรรจุก๊าซ   ข้อ ๑๓  การติดตั้งท่อก๊าซต้องปฏิบัติดังนี้ (๑) ติดตั้งท่อก๊าซให้ส่วนล่างสุดของท่ออยู่สูงกว่าระยะต่ำสุดของรถไม่น้อยกว่า ๕ เซนติเมตร ในกรณีที่ติดตั้งถังด้านหลังเพลาล้อหลังสุดของรถ  ส่วนล่างสุดของท่อก๊าซที่ต่อจากถังต้องอยู่สูงกว่าระยะต่ำสุดของรถไม่น้อยกว่า ๕ เซนติเมตร และต้องอยู่สูงจากพื้นถนนไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๖ ของระยะห่างระหว่างแกนของถังกับแกนของเพลาล้อหลังสุด (๒) ท่อก๊าซต้องเป็นท่อทองแดง ไม่มีตะเข็บ มีความหนาและขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายในที่เหมาะสมกับการทำงานของลิ้นควบคุมการไหล และอัตราการใช้เชื้อเพลิงของเครื่องยนตร์สามารถทนความดันได้โดยปลอดภัย (๓) ท่อก๊าซที่ต่อจากถังไปยังเครื่องยนตร์ต้องไม่ถูกกระทบกระเทือนหรือเสียดสีกับสิ่งอื่นใด (๔) ท่อก๊าซส่วนที่อยู่ภายในตัวรถต้องเป็นชิ้นส่วนเดียวกันโดยไม่มีการเชื่อมหรือต่อ (๕) หุ้มท่อก๊าซด้วยท่อพลาสติกหรือท่อที่มีคุณภาพทัดเทียมกัน (๖) ท่อก๊าซส่วนที่อยู่ใต้รถต้องต่อเข้าไปในโครงคัสซีหรือส่วนของตัวถังรถที่สามารถป้องกันการกระทบกระแทกจากภายนอกได้ (๗) ท่อก๊าซต้องอยู่ห่างจากท่อไอเสียไม่น้อยกว่า ๑๐ เซนติเมตร เว้นแต่จะมีการป้องกันความร้อนจากท่อไอเสียอย่างมีประสิทธิภาพ (๘) ท่อก๊าซต้องยึดแน่นกับโครงคัสซีหรือส่วนของตัวถังรถด้วยตัวยึดโดยมีระยะห่างกันไม่เกินช่วงละ ๕๐ เซนติเมตร (๙) ท่อก๊าซส่วนที่ผ่านเข้าไปในตัวถังรถส่วนที่ใช้บรรทุกคนต้องเดินในท่อโลหะอีก ชั้นหนึ่งสำหรับให้ก๊าซระบายออกนอกตัวถังรถได้เมื่อมีก๊าซรั่ว (๑๐) ข้อต่อต่าง ๆ ต้องเป็นข้อต่อแบบเกลียว หรือใช้ปลอกหรือกล่องหุ้มแล้วบัดกรีด้วยเงินหรือทองแดง   ข้อ ๑๔  การติดตั้งระบบควบคุมการปิดเปิดก๊าซต้องปฏิบัติดังนี้ (๑) ติดตั้งลิ้นควบคุมการปิดเปิดก๊าซที่ตัวถังรถในตำแหน่งที่ที่ก๊าซจะไม่พุ่งเข้ารถในกรณีที่ก๊าซรั่วจากลิ้นควบคุมการปิดเปิดก๊าซ ไม่ว่าจะรั่วจากท่อทางเข้าหรือท่อทางออก (๒) ลิ้นควบคุมการปิดเปิดก๊าซต้องอยู่ห่างจากท่อไอเสียไม่น้อยกว่า ๑๐เซนติเมตร (๓) ลิ้นควบคุมการปิดเปิดก๊าซต้องปิดโดยอัตโนมัติเมื่อเปิดใช้น้ำมันเบนซิน (๔) ระบบไฟฟ้าที่ควบคุมการปิดเปิดก๊าซไปยังเครื่องยนต์ต้องมีฟิวส์ป้องกันในกรณีที่เกิดการลัดวงจรในระบบไฟฟ้า และต้องต่อแยกออกจากระบบไฟฟ้าอื่น ๆ ในรถ   ข้อ ๑๕  การติดตั้งเครื่องทำและปรับความดันไอก๊าซต้องปฏิบัติดังนี้ (๑) ติดตั้งเครื่องทำและปรับความดันไอก๊าซที่ตัวถังรถโดยให้อยู่ห่างจากท่อไอเสียไม่น้อยกว่า ๑๐ เซนติเมตร เว้นแต่จะมีการป้องกันความร้อนจากท่อไอเสียอย่างมีประสิทธิภาพ (๒) ท่อไอก๊าซที่ต่อจากเครื่องปรับความดันไอก๊าซไปยังเครื่องผสมอากาศกับก๊าซต้องเป็นท่ออ่อนที่ทนความดันได้ไม่น้อยกว่า ๑๐๐.๐ กิโลปาสกาลมาตร และทดความดันแตกได้ไม่น้อยกว่า ๘๗๕.๐ กิโลปาสกาลมาตร และหุ้มด้วยวัสดุที่ป้องกันการรั่วที่อาจเกิดจากการเสียดสีด้วย (๓) ห้ามต่อท่อจากท่อไอเสียไปยังเครื่องทำและปรับความดันไอก๊าซ   ข้อ ๑๖  ในกรณีที่เป็นรถใช้ทั้งก๊าซและน้ำมันเบนซินเป็นเชื้อเพลิงต้องติดตั้งระบบควบคุมการปิดเปิดน้ำมันดังนี้ (๑) ติดตั้งลิ้นควบคุมการปิดเปิดน้ำมันที่ตัวถังรถ เว้นแต่เป็นชนิดที่ได้ออกแบบไว้สำหรับติดตั้งกับเครื่องยนต์ (๒) ท่อน้ำมันที่เชื่อมระหว่างจุดสองจุดที่เป็นจุดรวมของระบบน้ำมันต้องเป็นโลหะ หรือวัสดุสังเคราะห์ที่มีความทนทานต่อน้ำมันในกรณีที่ใช้ท่อซึ่งสามารถบิดงอ ได้จะต้องยึดแน่นไว้โดยใช้แถบรัด (๓) ลิ้นควบคุมการปิดเปิดน้ำมันต้องปิดโดยอัตโนมัติเมื่อเปิดใช้ก๊าซ (๔) ระบบไฟฟ้าที่ควบคุมการปิดเปิดน้ำมันไปยังเครื่องยนต์ต้องมีฟิวส์ป้องกันในกรณีที่เกิดการลัดวงจรในระบบไฟฟ้า และต้องต่อแยกออกจากระบบไฟฟ้าอื่น ๆ ในรถ   ข้อ ๑๗  เมื่อติดตั้งส่วนควบและเครื่องอุปกรณ์ตามกฎกระทรวงนี้แล้วให้ดำเนินการทดสอบดังนี้ (๑) ทดสอบระบบท่อก่อนการบรรจุก๊าซด้วยอากาศภายในความดันไม่น้อยกว่า๗๐๐ กิโลปาสกาลมาตร เป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๑๐ นาที ซึ่งความดันต้องไม่ลดลง (๒) ทดสอบระบบท่อเมื่อบรรจุก๊าซแล้ว ซึ่งต้องไม่ปรากฏการรั่วซึม (๓) ทดสอบลิ้นควบคุมการไหล ซึ่งต้องปฏิบัติงานได้ดี   ข้อ ๑๘  ถังที่เป็นไปตามข้อ ๓ (๑) เมื่อใช้แล้วและมีอายุครบสิบปีนับแต่วันผลิตให้ดำเนินการทดสอบใหม่ และห้ามมิให้ใช้ถังนั้น เมื่อ (๑)  ตรวจพินิจภายนอกถังแล้วปรากฏข้อบกพร่องอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (ก) เมื่อถังถูกไฟไหม้หรือถังเปล่ามีน้ำหนักน้อยกว่าร้อยละ ๙๕ ของน้ำหนักถังเดิม (ข) มีหลุมบ่อโดดเดี่ยวลึกเกินร้อยละ ๕๐ ของความหนาผนังถังเดิม (ค) มีรอยผุกร่อนเป็นแนวยาวตั้งแต่ ๗๕ มิลลิเมตรขึ้นไป และลึกเกินร้อยละ ๒๕ ของความหนาผนังถังเดิม หรือมีรอยผุกร่อนเป็นแนวยาวน้อยกว่า ๗๕ มิลลิเมตร และลึกเกินร้อยละ ๕๐ ของความหนาผนังถังเดิม (ง) มีรอยผุกร่อนทั่วไปลึกเกินร้อยละ ๕๐ ของความหนาผนังถังเดิม (จ) มีรอยบุบเว้าที่รอยเชื่อมลึกเกิน ๖ มิลลิเมตร (ฉ) มีรอยบุบเว้าที่บริเวณอื่นลึกเกินร้อยละ ๑๐ ของความกว้างเฉลี่ยของรอยบุบเว้า (ช) มีรอยชำรุดที่เกิดจากการถูกขีดหรือทิ่มแทงลึกเกินร้อยละ ๕๐ ของความหนาผนังถังเดิม หรือมีรอยชำรุดเช่นนี้ยาวเกิน ๗๕ มิลลิเมตร และลึกเกินร้อยละ ๒๕ ของความหนาผนังถังเดิม (ซ) มีรอยรั่ว รอยร้าว รอยหักพับ หรือบวม (ฌ) จำนวนเกลียวของลิ้นถังที่กินกันลดลงจากที่ระบุไว้ หรือเมื่อขันเกลียวแน่นแล้วแล้วก๊าซยังรั่วอยู่ (ญ) ลิ้นเอียงจนเห็นได้ชัด (ฎ) โกร่งกำบังหรือฝาครอบเครื่องอุปกรณ์ที่ติดตั้งบนถังเสียรูป หลวม หรือมีรอยเชื่อมชำรุด หรือเมื่อฐานถังชำรุดทำให้ถังเอียงจนเห็นได้ชัด หรือ (๒) ทดสอบถังด้วยความดันของของเหลวไม่น้อยกว่าสองเท่าของความดันที่ใช้งานแล้วทำให้ถังบวม บิดเบี้ยว ซึมหรือรั่ว หรือทดสอบถังโดยใช้ถังน้ำ (water jacket) แล้ว ได้ค่าการขยายตัวอย่างถาวรของถังเกินร้อยละ ๑๐ ของการขยายตัวอย่างสมบูรณ์โดยปริมาตร   ข้อ ๑๙  ถังที่ไม่เป็นไปตามข้อ ๓ (๑) ต้องผ่านการตรวจและทดสอบตามข้อ ๑๘ก่อนจึงจะใช้ถังนั้นได้   ข้อ ๒๐  ถังที่ผ่านการตรวจและทดสอบตามข้อ ๑๘ หรือข้อ ๑๙ แล้วให้ดำเนินการตรวจและทดสอบตามข้อ ๑๘ ทุกห้าปี เมื่อผ


ราคา: ไม่ระบุต้องการ: ขาย
ติดต่อ: 0863223917อีเมล์: 
โทรศัพย์: IP Address: 124.120.129.129



ดูสินค้าอื่นๆ | ลงประกาศ | เลื่อนประกาศขึ้น | ลบประกาศ | แก้ไขประกาศ

[ รับจำนอง ขายฝาก บ้าน ที่ดิน ทั่วประเทศ กู้เงินง่าย ได้เงินไว ไม่เช็คแบล็คลิส ]





ประกาศอื่นๆในหมวดหมู่เดียวกัน 20 รายการ (แสดงทั้งหมด)

รูป   รายละเอียด ราคา
  300,000 บาท
  300,000 บาท
  888,888 บาท
  999,999 บาท
  300,000 บาท
  480,000 บาท
  320,000 บาท
  555,555 บาท
  999,999 บาท
 
[รถเก๋ง] ค้นหา : civic ,
380,000 บาท
 
  259,000 บาท
  781,000 บาท
  200,000 บาท
 
  300,000 บาท
 
  200,000 บาท
  300,000 บาท
  300,000 บาท